1.ระบบเวลาแบบ 12 ชั่วโมง (12-hour clock)
-หากเป็นเวลาเต็มชั่วโมงเติมคำว่า “O’clock” ตามหลังเลขชั่วโมงนั้นๆ
ex. It’s nine O’clock now. = ขณะนี้เป็นเวลาเก้านาฬิกา
-ต้องการย้ำถึงเวลา ก็อาจจะเติมคำว่า “sharp” ลงไปด้วย
ex. See you tomorrow at six o’clock sharp = แล้วเจอกันพรุ่งนี้ ตอนหกโมงตรง
-หากเป็นเวลาที่ผ่านชั่วโมงมาแล้ว แต่ไม่เกินสามสิบนาที ให้ใช้คำว่า “past” เข้ามาช่วยในการบอกเวลา
ex. 9.15 = A quarter past nine / nine fifteen
9.30 = Half past nine / Six thirty
-หากเป็นเวลาmujเกินสามสิบนาทีมาแล้วใช้คำว่า “to” เข้ามาช่วย
ex. 6.45 = A quarter to seven / Six forty-five
6.35 = Twenty-five (minutes) to seven / Six thirty-five
-ใช้เลข 1 ถึง 12 ตามด้วย a.m.หรือ p.m. ต่อท้าย
-หากเป็นเวลาเต็มชั่วโมงเติมคำว่า “O’clock” ตามหลังเลขชั่วโมงนั้นๆ
ex. It’s nine O’clock now. = ขณะนี้เป็นเวลาเก้านาฬิกา
-ต้องการย้ำถึงเวลา ก็อาจจะเติมคำว่า “sharp” ลงไปด้วย
ex. See you tomorrow at six o’clock sharp = แล้วเจอกันพรุ่งนี้ ตอนหกโมงตรง
-หากเป็นเวลาที่ผ่านชั่วโมงมาแล้ว แต่ไม่เกินสามสิบนาที ให้ใช้คำว่า “past” เข้ามาช่วยในการบอกเวลา
ex. 9.15 = A quarter past nine / nine fifteen
9.30 = Half past nine / Six thirty
-หากเป็นเวลาmujเกินสามสิบนาทีมาแล้วใช้คำว่า “to” เข้ามาช่วย
ex. 6.45 = A quarter to seven / Six forty-five
6.35 = Twenty-five (minutes) to seven / Six thirty-five
-การอ่านเวลาแบบระบุเวลาเช้า เย็น เป็นวิธีที่ง่ายและเป็นที่นิยมมาก
2.ระบบเวลาแบบ 24 ชั่วโมง (24-hour clock)
-เป็นวิธีการบอกเวลาที่ใช้ในหมู่ทหาร หรือ ในการประชุมทางการต่างๆ เพื่อป้องกันการสับสนในการบอกเวลา
-ใช้เลข 1 ถึง 23 และ เลข 00 ในเวลาเที่ยงคืน
-ม่มี a.m. / p.m. ตามหลัง
ex. 20.00 = twenty hundred
02.09 = oh two oh nine / zero two zero nine
00.26 = midnight twenty-six
ex. 20.00 = twenty hundred
02.09 = oh two oh nine / zero two zero nine
00.26 = midnight twenty-six
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น